วันเสาร์ที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2565

5 อวัยวะสำคัญที่อาจ "พัง" ได้หาก "กิน" ไม่ระวัง

 เรื่องกินเรื่องใหญ่ เพราะแค่การกินอาหารที่ไม่เหมาะสม อาจเสี่ยงอันตรายต่อ 5 อวัยวะสำคัญเหล่านี้ได้

วันอังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2565

เผลอกลืน "หมากฝรั่ง" อาจเข้าไปพันลำไส้ได้ จริงหรือ?

 ตอนเด็กๆ เราน่าจะเคยได้ยินผู้ใหญ่เตือนว่า ห้ามกลืนหมากฝรั่งไม่งั้นมันจะไปพันลำไส้ แล้วเกิดอันตรายได้ วันนี้มีข้อมูลจาก สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือ อย. ได้ให้ข้อมูลไว้ว่า ไม่จริง 

วันเสาร์ที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2565

8 เวลาที่ควร "ดื่มน้ำ" ช่วยลดไขมัน-เพิ่มภูมิคุ้มกัน

 นพ.นันทพล พงศ์รัตนามาน อาจารย์ที่ปรึกษา แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือด ร.พ.พระมงกุฎเกล้า หรือ หมอท็อป ระบุไว้ในหนังสือ “อายุยืน 100 ปีง่ายแค่นี้เอง” ว่า การดื่มน้ำสำคัญต่อระบบการทำงานในร่างกายของเรา แต่หากเลือกช่วงเวลาในการดื่มน้ำที่เหมาะสม จะยิ่งช่วยส่งเสริมสุขภาพให้ดีขึ้นในหลายๆ ด้านได้ด้วย ไม่ว่าจะเป็นสุขภาพโดยรวม ระบบเผาผลาญพลังงาน การทำงานของฮอร์โมนต่างๆ และภูมิคุ้มกันโรคก็จะดีมากกว่าคนอื่นๆ ที่ดื่มน้ำในปริมาณใกล้เคียงกัน แต่คนละเวลา

วันพฤหัสบดีที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2565

เช็ก 5 ลักษณะของ “ไฝ” ที่อันตราย เสี่ยง “มะเร็ง”

 ลองเช็กดูไฝของเราให้ดี โดยเฉพาะไฝที่เกิดขึ้นใหม่ หรือไฝเดิมที่มีลักษณะเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะอาจเป็นสัญญาณอันตรายของโรคมะเร็งได้

วันอังคารที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2565

จริงหรือไม่? กิน “ไข่” เสี่ยง “ผมร่วง”

 ไข่ เต็มไปด้วยโปรตีนชั้นดีที่ราคาย่อมเยา หากินได้ง่าย ดูดซึมง่าย และยังมีไขมันดี ไม่มีไขมันเลว จึงนับว่าไข่เป็นอาหารที่ดีต่อสุขภาพอย่างหนึ่ง

วันอังคารที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2565

ข้อควรระวังเมื่อใช้ "ผ้าอนามัยแบบสอด"

 ผู้หญิงที่ใช้ผ้าอนามัยแบบสอด ควรรู้เรื่องนี้ไว้ก่อนใช้ มิฉะนั้นอาจสร้างอันตรายต่อร่างกายระหว่างใช้ได้

วันเสาร์ที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2565

แพทย์แนะ 8 เคล็ดลับกลับบ้านช่วง “สงกรานต์” ลดเสี่ยงโควิด-19

รศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แนะนำวิธีลดความเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 ระหว่างเดินทางกลับบ้านและระหว่างฉลองเทศกาลสงกรานต์ เอาไว้ดังนี้

วันพฤหัสบดีที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2565

เตือน! “เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ” ป้องกันโควิด-19 ไม่ได้

 อ.เจษฎา เด่นดวงบริพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โพสต์เตือนผู้บริโภคในเฟซบุ๊กว่า อย่าหลงเชื่อผู้ผลิต “เครื่องฟอกอากาศห้อยคอ” เพราะไม่สามารถป้องกันการติดเชื้อโควิด-19 ได้

วันอังคารที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2565

วันเสาร์ที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2565

จริงหรือไม่? ย้อมสีผมบ่อย เสี่ยง “มะเร็ง”

 บางกระแสในโลกอินเตอร์เน็ตอ้างว่า “ผู้หญิงที่ย้อมสีผมบ่อย เสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม มากขึ้น 60%”


กรมการแพทย์ โดยสถาบันมะเร็งแห่งชาติ ได้ดำเนินการตรวจสอบข้อเท็จจริงพบว่า ยังไม่มีหลักฐานงานวิจัยที่ยืนยันว่าผู้หญิงที่ย้อมสีผมบ่อยเสี่ยงเป็นมะเร็งเต้านม