วันพุธที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2564

5 ความเชื่อผิดๆ ของผู้หญิงเกี่ยวกับ "ประจำเดือน"

 เป็นประจำเดือนต้องห้ามกินน้ำแข็งนะ เป็นประจำเดือนห้ามอาบน้ำเย็นนะ เชื่อว่าเวลาที่สาวๆ เป็นประจำเดือนมักจะโดนสารพัดคำพูดแบบนี้อยู่บ่อยๆ แต่ใครจะรู้บ้างว่า แท้ที่จริงแล้ว ความเชื่อเหล่านี้ บางเรื่องก็เป็นสิ่งที่เราเข้าใจผิดกันไปเอง วันนี้ เลยรวบรวมความเชื่อที่ผิดเวลาที่เรามีประจำเดือนมาฝากสาวๆ กัน

วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2564

เตือน! กระเช้าปีใหม่ เช็ด “อาหารกระป๋อง” ก่อนกิน ลดเสี่ยงโควิด-19

 

เพื่อเพิ่มความมั่นใจ แนะเช็ดกระป๋องก่อนเปิดกิน ลดเสี่ยงปนเปื้อนเชื้อไวรัสที่เกิดจากการสัมผัสของพนักงานจัดกระเช้าของขวัญได้

วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2564

วิธีเดินทางปลอดภัยจาก “โควิด-19” ช่วงวันหยุด

 ในขณะที่ผู้คนเตรียมตัวไปเยี่ยมครอบครัวและเพื่อนฝูงในช่วงเทศกาลวันหยุดปลายปี บางคนอาจสงสัยว่าจะปลอดภัยหรือไม่ที่จะเดินทางในช่วงการระบาดของโควิด-19 ในขณะนี้

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2564

วิธี “เช็ดตัว” เมื่อมีไข้ที่ถูกต้อง

 หากใครที่กำลังป่วย มีไข้ และใช้วิธีลดไข้ด้วยการเช็ดตัว การเช็ดตัวที่ถูกวิธีจะช่วยให้ไข้ลดได้เร็วขึ้น หายจากไข้ได้เร็วขึ้น ลดความเสี่ยงในการมีไข้สูงจนชักได้

วันพุธที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564

แอปเปิ้ลแดง vs แอปเปิ้ลเขียว แบบไหนมีประโยชน์มากกว่ากัน

 แอปเปิ้ลแดง และแอปเปิ้ลเขียว แม้ว่าจะเป็นแอปเปิ้ลเหมือนกัน แต่รสชาติ และคุณค่าทางสารอาหารแตกต่างกันเล็กน้อยตามสีของเปลือก

วันเสาร์ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2564

อันตรายจาก "สบู่ผสมสารต้านแบคทีเรีย"

 อย. ระบุว่า สบู่ผสมสารต้านแบคทีเรียถึงอาจจะส่งผลเสียต่อเราได้ หากใช้บ่อยหรือมากเกินความจำเป็น

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ระบุว่า สบู่ เป็นผลิตภัณฑ์ใช้ทำความสะอาดร่างกายในชีวิตประจำวัน สามารถชำระล้างสิ่งสกปรกได้ดีกว่าการใช้น้ำเพียงอย่างเดียว ซึ่งการใช้ในวัตถุประสงค์ทำความสะอาดจึงจัดเป็นเครื่องสำอาง ปัจจุบันมีผู้ผลิตหลายรายได้ผสมสารต้านแบคทีเรียลงไปในสบู่ โดยอ้างว่าสามารถทำความสะอาดผิวได้ดีขึ้น เนื่องจากสารต้านแบคทีเรียจะช่วยทำลายเชื้อโรคที่อยู่บนผิวหนัง

วันพุธที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2564

6 อันตรายจากการใช้ “ขนตาปลอม”

 คุณผู้หญิงระวังการใช้ขนตาปลอมที่ไม่ถูกวิธี อาจพาคุณเข้าโรงพยาบาลได้

พญ.เบญญาภา ฉัตรไพฑูรย์ และ รศ. พญ.สุภรัตน์ จริยโกศล ฝ่ายจักษุวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ระบุว่า การใช้ขนตาปลอมเพื่อความสวยงาม อาจแฝงไปด้วยอันตรายต่อดวงตาได้ ดังนี้

วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2564

อาการเมื่อติดโควิดสายพันธุ์ “โอมิครอน” อันตรายที่ควรระวัง

 จากการตรวจพบไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 แบบกลายพันธุ์ชนิดโอมิครอน ที่ทำให้หลายประเทศทั่วโลกเริ่มแตกตื่นและระมัดระวังตัวเองมากขึ้น ดังจะเห็นจากการที่หลายๆ ประเทศเริ่มปิดรับนักท่องเที่ยวที่มาจากประเทศที่มีความเสี่ยงพบผู้ติดเชื้อ เนื่องด้วยโควิด-19 สายพันธุ์ล่าสุดนี้ เริ่มเป็นที่ทราบกันว่าสามารถต่อต้านวัคซีนได้

วันพุธที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564

คุณผู้ชาย "ทำหมัน" ส่งผลต่อ "เพศสัมพันธ์" หรือไม่

 คู่รักหลายคู่อาจกังวล สงสัย หรือลังเลว่าควรจะให้สามีทำหมันเพื่อคุมกำเนิดดีหรือไม่ เมื่อคุณผู้ชายทำหมันแล้ว จะส่งผลอย่างไรต่อคุณภาพในการมีเพศสัมพันธ์หรือไม่ มีคำตอบจาก นพ.กัมปนาท พรยศไกร ศัลยแพทย์ระบบทางเดินปัสสาวะ เจ้าของเพจ Sarikahappymen มาฝากกัน

วันจันทร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

วิธีกำจัด ATK ชุดตรวจโควิด-19 อย่างถูกต้องและปลอดภัย

 นายแพทย์สุวรรณชัย วัฒนายิ่งเจริญชัย อธิบดีกรมอนามัย กล่าวว่า จากการที่กระทรวงสาธารณสุข  อนุมัติให้ประชาชนสามารถซื้อชุด ATK ใช้ตรวจโควิด-19 ด้วยตัวเองได้ กรณีที่มีการนำชุดตรวจโควิด-19 มาตรวจด้วยตนเองนั้น จะก่อให้เกิดขยะทั่วไปและขยะติดเชื้อจากครัวเรือนมากขึ้น เช่น ตลับทดสอบ หลอดใส่น้ำยา ฝาหลอดหยด ไม้ Swap รวมถึงเอกสารกำกับชุดตรวจ และกล่องบรรจุภัณฑ์ โดยชุดตรวจ ATK ที่ใช้แล้วถือเป็นขยะที่มีความเสี่ยง ต่อการแพร่กระจายเชื้อโรคต่อผู้จัดเก็บขยะได้ 

วันพฤหัสบดีที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

วิธีใช้ชุดตรวจโควิด-19 จากน้ำลาย ปลอดภัย-แม่นยำ

 ก่อนหน้านี้เราอาจพบว่ามีชุดตรวจโควิด-19 ด้วยตัวเอง โดยใช้น้ำลายในการตรวจอยู่บ้าง แต่หลายอาจยังมีข้อสงสัยว่าจะให้ผลได้แม่นยำมากแค่ไหน

วันอังคารที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

7 ลักษณะสุขภาพ “ลิ้น” บอกโรค

 ลักษณะของ “ลิ้น” สามารถบอกสุขภาพของร่างกายเราได้ว่ากำลังแข็งแรงดี หรือเสี่ยงกับโรคร้ายอะไรอยู่หรือเปล่า นำข้อมูลจาก รศ. นพ.ณปฎล ตั้งจาตุรนต์รัศมี ภาควิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย มาฝากกัน ว่าแล้วก็หยิบกระจกแล้วแลบลิ้นออกมาส่องดูซิ ว่าลิ้นของเรามีลักษณะอย่างไรบ้าง

วันเสาร์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

วิธีรักษา "ส้นเท้าด้าน-ส้นเท้าแตก" ด้วยตนเอง

 ส้นเท้าหนา ด้าน แตก เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่ไม่ใช่ทุกคนที่รู้วิธีแก้ปัญหานี้ได้ด้วยตัวเอง

วันพฤหัสบดีที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

แพทย์เตือน “บีบสิวปลายจมูก” เสี่ยงติดเชื้อในสมอง

 ทนพ.ภาคภูมิ เดชหัสดิน นักเทคนิคการแพทย์ประจำศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติสภากาชาดไทย หรือ หมอแล็บแพนด้า โพสต์เตือนอย่าบีบสิวบริเวณปลายจมูก เสี่ยงติดเชื้อในสมองได้ โดยระบุรายละเอียดเอาไว้ ดังนี้

วันอังคารที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

สูตรทำ "น้ำกระชายขิงน้ำผึ้งมะนาว" สมุนไพรยอดฮิตเพื่อสุขภาพ

 “กระชาย” เป็นพืชสมุนไพรที่สามารถนำมาปรุงเป็นอาหารได้หลากหลายเมนู นอกจากจะได้ความอร่อยแล้ว กระชายและขิง ยังเป็นสมุนไพรพื้นบ้านที่มีการใช้เป็นอาหารและยามานาน ภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ใช้แก้โรคที่เกิดในปาก เช่น ปากเปื่อย ปากเป็นแผล รักษาอาการจมูกไม่ได้กลิ่น ไซนัสอักเสบ ช่วยย่อยอาหาร เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ยาอายุวัฒนะบำรุงกำลัง แก้ปวดเมื่อย แก้ลมวิงเวียน

วันพุธที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

วิธีเตรียมตัวขึ้นเครื่องบิน ในยุคโควิด-19

 ในช่วงที่โควิด-19 ยังระบาด การเตรียมตัวและดูแลตัวเองระหว่างเดินทางด้วยเครื่องบินจึงเปลี่ยนไปเล็กน้อย

วันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

ปวดคอเพราะ "นอนตกหมอน" ทำอย่างไรถึงจะหาย

 ใครที่มีอาการปวดคอ นอนตกหมอน คอเคล็ด รู้สึกเจ็บหรือติดขัดเวลาหันหน้า เรามีวิธีแก้ง่ายๆ มาฝาก

วันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564

"ผักปลัง" ผักมากประโยชน์ ช่วยป้องกัน "มะเร็ง"

 ผักปลังเป็นผักที่มีคุณค่าสารอาหารซึ่งคนไทยนิยมนำมาผัดและทำต้มจืด ในญี่ปุ่นก็มีผักชนิดนี้จำหน่ายในช่วงปลายฤดูร้อนถึงฤดูใบไม้ร่วงโดยมีชื่อเรียกภาษาญี่ปุ่นว่า สึรุมูราซากิ (ツルムラサキ) มารู้คุณค่าสารอาหาร ประโยชน์ต่อร่างกาย และวิธีการนำผักชนิดมารับประทานแบบญี่ปุ่นกัน

วันศุกร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2564

แพทย์เตือน “สารปรอท” ในเครื่องสำอาง/ครีมบำรุง เสี่ยงอันตราย

 กรมการแพทย์ โดยสถาบันโรคผิวหนัง เตือนอันตรายจากสารปรอท พบได้มากในการผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย

วันพุธที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2564

แผลแบบไหน ควร-ไม่ควร ปิดด้วย "พลาสเตอร์"

“พลาสเตอร์” มีไว้ใช้ปิดบาดแผลไม่ให้โดนสิ่งสกปรกด้านนอกที่จะทำให้แผลติดเชื้อได้ และเอาไว้ปฐมพยาบาลบาดแผลบางประเภทอย่างเร่งด่วน เช่น ของมีคมบาด หรือแผลถลอกต่างๆ

วันจันทร์ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2564

5 สัญญาณเตือน "แพ้ยาสระผม"

 ทุกวันนี้มียาสระผมหรือแชมพูมากมายหลากหลายยี่ห้อและหลากหลายสูตร จนเลือกซื้อไม่ถูกกันเลยทีเดียว ใครๆก็อยากใช้ยี่ห้อที่ชอบหรืออยากใช้ที่มีกลิ่นหอมๆ แต่ในบางครั้งพอใช้แชมพูที่เราชอบ ก็เกิดมีอาการแปลกๆ เช่น มีอาการแสบหนังศีรษะ บางครั้งก็มีสิวขึ้นที่ไรผม หากมีอาการแบบนี้ต้องรีบเช็กด่วนเลยว่าเรานั้นแพ้ยาสระผมหรือเปล่า วันนี้เรามี 5 สัญญาณเตือน “แพ้ยาสระผม” มาให้ทุกคนได้รู้กัน

วันพฤหัสบดีที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2564

5 วิธีลด "ความดันสูง" ได้ง่ายๆ โดยไม่ต้องกินยา

 อีกหนึ่งปัญหาสุขภาพที่คนไทยเป็นกันมาก คือ “ความดันโลหิตสูง” มักพบในวัยทำงานไปจนถึงวัยชรา คนที่มีน้ำหนักมากกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และคนที่มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม

วันอังคารที่ 19 ตุลาคม พ.ศ. 2564

วิธีปฐมพยาบาล เมื่อถูก “แมลงก้นกระดก” กัด

แมลงก้นกระดก หรือด้วงก้นกระดก มีส่วนหัว ปีก และหางเป็นสีดำ ช่วงอก ส่วนท้องเป็นสีส้มเป็นแมลงขนาดเล็ก ลำตัวประมาณ 7-8 มม. มักอาศัยบริเวณพงหญ้าอับชื้น ชอบออกมาเล่นไฟและแสงสว่างตามบ้านเรือน จะมีมากในช่วงปลายฤดูฝน แมลงชนิดนี้สามารถปล่อยสารที่เรียกว่า พีเดอริน (Pederin) ซึ่งก่อให้เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง ทำลายเนื้อเยื่อผิวหนังของผู้ที่สัมผัส

วันเสาร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2564

6 อันตราย หากกิน “ใบกระท่อม” เกินขนาด

 เมื่อเราสามารถบริโภคใบกระท่อมกันแล้ว ควรรู้ปริมาณการกินที่เหมาะสมด้วย เพราะถ้ากินไปมากเกินไป อาจให้โทษต่อร่างกายได้

วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2564

6 ขั้นตอนทำน้ำสะอาดไว้ใช้ในบ้านช่วง “น้ำท่วม”

 

หากบ้านไหนที่ขาดแคลนน้ำสะอาดในช่วงน้ำท่วม ลองทำตามวิธีที่กรมอนามัยแนะนำเพื่อทำน้ำสะอาดไว้ใช้ในในครัวเรือนชั่วคราว

วันอังคารที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2564

“กล้วยปิ้ง” กับประโยชน์ต่อสุขภาพที่มากกว่ากล้วยธรรมดา

 กล้วยที่คนญี่ปุ่นนิยมนำมารับประทานส่วนใหญ่นำเข้ามาจากประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งมีราคาถูกและหาซื้อมารับประทานได้ตลอดทั้งปี นอกเหนือจากประโยชน์ของกล้วยสุกแล้ว กล้วยปิ้งยังเป็นอีกทางเลือกของการนำมารับประทานที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากมาย มารู้ประโยชน์ของกล้วยสุก กล้วยปิ้ง และวิธีการปิ้งกล้วยของคนญี่ปุ่นกัน 

วันเสาร์ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2564

คุณเป็นพวกบ้างาน Workaholic รึเปล่า?

 รู้สึกว่าตัวเองบ้างานไหม? คำถามนี้หากดูผิวเผินอาจจะดูแปลกสักหน่อย ใครจะบ้างาน ขยันทำงานขนาดนั้น แต่เชื่อเถอะว่ามีอยู่จริงๆ

วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2564

ใช้ "สายชำระ" อย่างไร ให้ปลอดภัยจาก "โควิด-19"

รู้หรือไม่ว่าสายชำระในห้องน้ำ เป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคอย่างดี แล้วจะใช้อย่างไรให้ปลอดภัยจากโรคต่างๆ รวมถึงโควิด-19

วันอังคารที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2564

"บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป" กินดิบ-ต้มสุก อันตรายต่างกันอย่างไรบ้าง


มีใครชอบกินบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปดิบบ้าง จริงๆ แล้วกินได้แต่มีอันตรายอยู่บ้างหากกินมากเกินไป

บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป” เป็นอาหารที่มีติดบ้านอยู่ทุกบ้าน ไม่ว่าจะเป็นช่วงเวลาปกติที่เราจะหยิบมากินเป็นอาหารมื้อเย็น มื้อดึก หรือเป็นอาหารยามลำบาก ด้วยราคาย่อมเยา หาซื้อง่าย และเก็บไว้ได้นาน

วันศุกร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2564

ขนคุดเกิดจากอะไร? 4 วิธีรักษาขนคุดได้ด้วยตัวเอง

 ใครเคยมีปัญหาเรื่องขนคุดกันบ้าง ขนคุดเป็นปัญหาผิวที่กวนใจสาวๆ เป็นอย่างมาก เพราะนอกจากจะทำให้ผิวของเรานั้นดูไม่เรียบเนียน ยังทำให้ขาดความมั่นใจได้เลย แล้วเคยสงสัยกันไหมว่าขนคุดเกิดขึ้นมาได้ยังไง จะรักษายังไงให้หาย

วันพุธที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2564

3 ข้อระวังเมื่อใช้หน้ากากอนามัย KF94

 หน้ากากอนามัย KF94 เป็นหน้ากากที่เริ่มผลิตและถูกใช้ในประเทศเกาหลีเพื่อป้องกันฝุ่นเหลืองจากเกสรดอกไม้ในช่วงฤดูใบไม้ผลิ หรือฝุ่นละอองขนาดเล็กมากๆ อย่าง pm2.5 ด้วยการทดสอบประสิทธิภาพที่กันสิ่งแปลกปลอมขนาดเล็กได้พอๆ กับหน้ากาก N95 แต่สวมใส่ง่ายกว่าไม่อึดอัด 

วันจันทร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2564

11 วิธีแก้นิสัย “ขี้ลืม” ง่ายๆ ได้ผลจริง

 ถึงแม้เรายังไม่แก่ เราก็อาจหลงๆ ลืมๆ ได้ เพราะการใช้ชีวิตในแต่ละวันเราต่างทำกิจกรรมมากมาย บางครั้งเราอาจหลงลืมบางอย่างที่เราทำเป็นกิจวัตรได้ อาการเหล่านี้อาจดูไม่มีอะไรผิดปกติ แต่ถ้าเกิดขึ้นบ่อยๆนั้นอาจเป็นสัญญาณของ “โรคอัลไซเมอร์” ซึ่งสาเหตุหลักนั้นมีหลายปัจจัย ก่อนเราจะแก้อาการขี้หลงขี้ลืมเราต้องรู้ก่อนว่า “สาเหตุ” ของอาการขี้หลงขี้ลืมเกิดจากอะไรกันบ้าง

วันศุกร์ที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2564

สุขภาพแพทย์ยืนยัน งด "อาหารเช้า" แย่ๆ ส่งผลดีต่อสุขภาพ

 เป็นที่พูดถึงกันมานานแล้วว่า “อาหารเช้า” เป็นมื้ออาหารที่สำคัญที่สุดของวัน แต่อาจไม่เสมอไปนัก ถ้าเป็นอาหารเช้าที่ไม่ดีต่อร่างกาย เมื่อ นพ.นันทพล พงศ์รัตนามาน อาจารย์ที่ปรึกษา แผนกศัลยศาสตร์หลอดเลือด ร.พ.พระมงกุฎเกล้า หรือ หมอท็อป ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการงดอาหารเช้าแย่ๆ 14 วัน อาจส่งผลดีต่อร่างกายอย่างคาดไม่ถึง

วันพุธที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2564

10 อาหารที่ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันสู้ "โควิด-19"

 ในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของโควิด-19 การรับประทานอาหารให้ครบถ้วนเพียงพอตามหลักโภชนาการ มีส่วนช่วยให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายแข็งแรงพร้อมต่อสู้กับเชื้อไวรัส 

วันจันทร์ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2564

เมื่อไรควร “ประคบร้อน” หรือ “ประคบเย็น”

 "การประคบ" เป็นวิธีหนึ่งที่นำมาใช้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อช่วยลดและบรรเทาอาการปวดหรืออาการบาดเจ็บ โดยอุปกรณ์ประคบร้อนและเย็น (Cold-Hot Pack) มีลักษณะเป็นถุงพลาสติก ภายในบรรจุเจลคล้ายวุ้น จัดเป็นเครื่องมือแพทย์ที่สามารถหาซื้อได้ง่ายและมักมีไว้ติดบ้าน สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ระบุถึงมีวิธีใช้ถุงประคบร้อน และเย็นเอาไว้ ดังนี้

วันพุธที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2564

3 ท่ากายบริหารง่ายๆ ลดปวดไหล่ หลังฉีดวัคซีน “โควิด-19”


 อาการที่พบมากช่วงนี้ที่คลินิกเฉพาะทางกระดูกและข้อ นั่นก็คืออาการปวดไหล่บริเวณที่ฉีดวัคซีนนั่นเอง นอกจากจะพบได้บ่อยแล้ว บอกเลยว่าเป็นอาการที่รบกวนจิตใจและกิจวัตรประจำวันมากโดยอาการนี้มักจะคงอยู่ประมาณหนึ่งถึงสามวัน สาเหตุที่ผู้ป่วยมีอาการปวดเกิดจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายที่ตอบสนองต่อวัคซีนและเกิดจากการอักเสบด้วย

วันจันทร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2564

ภาวะ "เกล็ดเลือดต่ำ" คืออะไร รักษาอย่างไร?

 ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ คือภาวะที่เลือดมีจำนวนของเกล็ดเลือดน้อยกว่าปกติไม่นับว่าเป็นโรค แต่เป็นภาวะที่เกิดจากโรค ควรต้องตรวจหาสาเหตุของการเกิดภาวะดังกล่าวก่อนทำการรักษา

วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2564

เตือน “เจลแอลกอฮอล์” รีบใช้ภายใน 28 วันหลังเปิดใช้ครั้งแรก เสี่ยงหมดอายุ

 หลังจากเปิดฝาใช้เจลแอลกอฮอล์แบบฝาเปิดแล้ว ควรรีบใช้ให้หมดภายใน 28 วัน เพราะแอลกอฮอล์อาจเสื่อมสภาพได้

วันพุธที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2564

เล่นมือถือนานๆ เสี่ยง “ตาบอด” ได้หรือไม่?

 หลายคนอาจทราบดีว่าแสงสีฟ้าจากหน้าจออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อย่างโทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ ส่งผลเสียต่อดวงตา จึงควรลดการใช้เวลาจ้องหน้าจอลงในแต่ละวัน แต่ถ้าจ้องมองหน้าจอมากๆ จะมีอันตรายถึงขั้น “ตาบอด” ได้เลยหรือไม่ มีคำตอบจาก อ.พญ.วฎาการ วุฒิศิริ ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล มาฝากกัน

วันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2564

กรมอนามัยย้ำ “เนื้อวัว-นมวัว” กินได้ ไม่ทำให้เลือดเป็นกรด ไม่กระตุ้นเชื้อโควิด-19

 กินเนื้อวัว หรือนมวัวไม่เสี่ยงต่อการที่เลือดเป็นกรด สามารถกินได้ตามปกติ แต่ควรกินให้หลากหลาย รวมทั้งเพิ่มการออกกำลังกาย พักผ่อนให้เพียงพอ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง สามารถต่อสู้กับเชื้อแบคทีเรียและไวรัสได้

วันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2564

“หายใจไม่ออก” เกิดขึ้นได้อย่างไร? หลีกเลี่ยงได้อย่างไร?

 ร่างกายของเราอาจอยู่ได้นานหลายวันหากขาดอาหาร รองลงมาคือน้ำที่สำคัญกว่าอาหารทั่วไป แต่ที่ร่างกายจะขาดไม่ได้เลยแม้เพียงไม่กี่นาที คือ “อากาศ” หากเราไม่หายใจภายในไม่กี่นาที เราจะเสียชีวิตทันที

วันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2564

สวม “หน้ากากอนามัย” แบบ “ไขว้สาย” เพิ่มป้องกันโควิด-19 ได้เกือบ 2 เท่า

 เฟซบุ๊กเพจ หมอเวร ระบุว่า ข้อมูลล่าสุดจากสำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (EPA) เปิดเผยผลการทดสอบค่า FFE (ค่าประสิทธิภาพการกรองอากาศและเชื้อโรค) ของหน้ากากอนามัย โดยทดลองจากวิธีการรัดหลายแบบด้วยกัน 

วันอังคารที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2564

10 เรื่องที่ควรทำให้เป็นนิสัยในยุค “โควิด-19”

 คำว่า “New Normal” อาจสามารถอธิบายพฤติกรรมของเราในช่วงโควิด-19 ระบาดนี้ได้ดี เป็นพฤติกรรมใหม่ๆ ที่เราควรทำให้ติดเป็นนิสัย และทำให้เป็นเรื่องธรรมดาที่เราควรทำในชีวิตประจำวันตามปกติ สสส. แนะนำ 10 เรื่องที่ควรทำให้เป็นนิสัยในยุคโควิด-19 เรียนรู้ที่จะทำสิ่งเหล่านี้ให้ติดเป็นนิสัย จะมีโควิดหรือไม่มีก็ควรทำ เพื่อสุขอนามัยของคุณเอง

วันเสาร์ที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2564

4 ขั้นตอนรักษา "โควิด-19" ที่บ้าน Home Isolation

 

ขอรักษาตัวที่บ้านหรือ Home Isolation นั้นมีความชัดเจนมากขึ้น ล่าสุดวันที่ 30 ก.ค. 64 ที่ผ่านมา เพจศูนย์ข้อมูลโควิดได้โพสต์ ขั้นตอน พร้อมระบุว่า ผู้ป่วยที่ใช้ชุดตรวจโควิด (Antigen Test Kit) แล้วพบว่าตัวเองติดโควิด หากมีอาการน้อยหรือไม่มีอาการ แล้วหาเตียงที่โรงพยาบาลไม่ได้ หากสนใจเข้าสู่ระบบแยกรักษา ก็สามารถทำได้ตาม 4 ขั้นตอนดังนี้ 

วันอังคารที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2564

6 วิธีหนี "โควิด-19" เมื่อต้องออกไปใช้ชีวิตนอกบ้าน

 ด้วยสถานการณ์โควิด-19 ที่กำลังเป็นปัญหา บวกกับจำนวนผู้ป่วยที่ยังสูงขึ้นทำให้เราต้องหันมาใส่ใจสุขภาพและล็อกดาวน์ให้ห่างไกลจากการเสี่ยงติดเชื้อโควิด-19 แต่ก็มีอีกหลายคนที่ยังต้องออกไปทำธุระนอกบ้านอยู่ เพื่อเพิ่มความปลอดภัยที่มากกว่าการสวมหน้ากากอนามัยและพกเจลแอลกอฮอล์ วันนี้เราจึงขอแนะนำ 6 วิธีหนีโควิดเมื่อต้องออกไปใช้ชีวิตนอกบ้านกัน

วันจันทร์ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2564

ประโยชน์ของ "น้ำมันมะกอก" ที่มีต่อเด็กเล็ก

 ในช่วงเวลาที่คนไทยยังคงต้องดูแลเรื่องของสุขภาพและความปลอดภัยท่ามกลางการระบาดระลอกใหม่ของโควิด-19 อยู่นี้ ผู้คนยังให้ความสำคัญกับการหันมาพัฒนาสุขภาพและการกระตุ้นภูมิคุ้มกันกันมากขึ้นด้วย ซึ่งนอกเหนือจากการรักษาระยะห่างทางสังคมและล้างมือบ่อยๆ แล้ว เรื่องของโภชนาการและการเลือกส่วนประกอบอาหารให้เหมาะสมก็เป็นเรื่องสำคัญสำหรับคนทุกวัย

วันพุธที่ 4 สิงหาคม พ.ศ. 2564

Molnupiravir ยาต้านไวรัสทดลอง แนวทางรักษา “โควิด-19” ในอนาคต

 

Molnupiravir ความหวังใหม่ ยาเม็ดชนิดกินที่ช่วยรักษาโควิด-19 ได้

Molnupiravir (โมลนูพิราเวียร์) เป็นยาเม็ดชนิดรับประทานออกฤทธิ์ต้านไวรัส พัฒนาขึ้นเพื่อใช้รักษาโรคไข้หวัดใหญ่ โดย เมอร์ค (Merck) บริษัทผลิตยาจากเยอรมณี ร่วมมือกับ บริษัท ริดจ์แบค ไอโอเทราฟิวติก (Ridgeback Biotherapeutics) โดยจากการศึกษาพบว่ามีฤทธิ์ต่อต้านไวรัสโคโรนาหลายชนิด เช่น ซาร์ เมอร์ส และโควิด-19

วันจันทร์ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2564

“กินเผ็ด” บ่อยๆ เสี่ยงโรคอะไรบ้าง

 “รสเผ็ด” บางคนอาจเคยทราบว่า “เผ็ด” ไม่ใส่รสชาติ แต่เป็นความทรมานที่รับรู้ได้จากสารประกอบบางอย่างในพริก แต่ถึงกระนั้นก็ต้องยอมรับว่าอาหารรสเผ็ดเป็นที่โปรดปรานของใครหลายคน โดยเฉพาะคนไทย เพราะสามารถเพิ่มความอยากอาหารได้มากขึ้น